ราคากลางงานก่อสร้าง
วิธีจัดทำราคากลางค่าก่อสร้างอาคารและสิ่งปลูกสร้างของทางราชการ
วิธีจัดทำราคากลางค่าก่อสร้างอาคารและสิ่งปลูกสร้างของทางราชการการจัดทำราคากลางค่าก่อสร้างอาคารและสิ่งปลูกสร้างของทางราชการ เพื่อใช้จัดหาผู้รับจ้างก่อสร้าง และเพื่อการอื่นในส่วนที่เกี่ยวกับการที่สนับสนุนให้งานก่อสร้างนั้น ๆ แล้วเสร็จไปด้วยดีเป็นประโยชน์สูงสุด แก่หน่วยราชการนั้น กระทำได้โดยวิธีการถอดแบบรูปรายการคำนวณราคากลางหรือวิธีประมาณราคา โดยละเอียด
วิธีการถอดแบบคำนวณราคากลางหรือวิธีการประมาณราคาโดยละเอียดนั้นมีขั้นตอนในการปฏิบัติดังนี้
การปฏิบัติงานถอดแบบคำนวณราคากลาง
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมการ
1.1 ศึกษา หรือทำความเข้าใจเกี่ยวกับแบบรูปและรายการก่อสร้างของสิ่งปลูกสร้าง
ที่จะทำการถอดแบบคำนวณราคา
– เป็นสิ่งปลูกสร้างประเภทใด
– เป็นสิ่งปลูกสร้างตึก หรือไม้ หรือตึกครึ่งไม้
1.2 จัดทำบัญชีส่วนประกอบสิ่งปลูกสร้าง
(1) งานดิน,ทราย,ขุดดินฐานราก
(2) งานเข็มทั้งหมด
(3) งานโครงสร้าง ค.ส.ล.ทั้งหมด
(4) งานโครงหลังคาทั้งหมด
(5) งานมุงหลังคาทั้งหมด
(6) งานผิวพื้นทั้งหมด
(7) งานเพดานทั้งหมด
(8) งานผนังทั้งหมด
(9) งานประตูหน้าต่างช่องแสงทั้งหมด
(10) งานสุขภัณฑ์พร้อมอุปกรณ์ ทั้งหมด
(11) งานสุขาภิบาลทั้งหมด
(12) งานไฟฟ้าทั้งหมด
(13) งานทาสีทั้งหมด
(14) งานราวระเบียง,ราวบันไดและอื่น ๆ
(15) ค่า FACTOR F
(16) ค่าครุภัณฑ์ประกอบอาคารทั้งหมด
1.3 แบบฟอร์มการประมาณราคาให้กำหนดแยกตามประเภทชนิดของงานดังนี้
(1) แบบประมาณการงานโดยทั่วไป
(2) แบบประมาณการงาน ค.ส.ล.
(3) แบบประมาณการงานประเภทไม้
(4) แบบรวมปริมาณงานและวัสดุก่อสร้างทั้งหมดจากแบบต่าง ๆ หรือเป็น “บัญชีแสดงปริมาณงาน
และวัสดุก่อสร้าง”
(5) แบบใบสรุปราคา หรือใบปะหน้า ใช้กรอกรายละเอียด ค่าวัสดุ ค่าแรงงาน ของแต่ละรายการ
พร้อมค่าใช้จ่ายต่าง ๆ และราคาค่าก่อสร้างเพื่อแจ้งผลให้หน่วยงานเจ้าของอาคารทราบ
ขั้นตอนที่ 2 การดำเนินงาน
2.1 ประมาณการหาปริมาณงานและวัสดุก่อสร้างต่อหน่วย
(1) ประมาณการตามบัญชีส่วนประกอบอาคาร
(2) ประมาณในแบบแยกประเภทงาน
(3) เผื่อปริมาณงานและวัสดุตามเกณฑ์ที่กำหนด
2.2 นำผลที่ได้จาก 2.1 ไปกรอกลงในบัญชีแสดงปริมาณงานและวัสดุก่อสร้าง
โดยเรียงลำดับตามบัญชีส่วนประกอบอาคาร
2.3 ประมาณการหาค่าวัสดุ
นำราคาวัสดุต่อหน่วยจากบัญชีราคาวัสดุ กรอกลงในช่องราคาวัสดุต่อหน่วย
แล้ว x ด้วยจำนวนปริมาณวัสดุ นำผลที่ได้กรอกลงในช่องจำนวนเงินค่าวัสดุสิ่งของ
2.4 ประมาณการหาค่าแรงงาน
นำราคาค่าแรงงานต่อหน่วยจากบัญชีค่าแรงงาน กรอกลงในช่องค่าแรงงาน ต่อหน่วย
แล้ว x ด้วยจำนวนปริมาณวัสดุ นำผลที่ได้กรอกลงในช่องจำนวนเงินค่าแรงงาน
2.5 รวมจำนวนเงินค่าวัสดุสิ่งของ และค่าแรงงานของแต่ละรายการ นำผลที่ได้กรอกลงใน
ช่องยอดรวมค่าวัสดุและแรงงาน
2.6 รวมยอดค่าวัสดุและค่าแรงงานทั้งหมด
2.7 ประมาณการหา ค่าอำนวยการและดำเนินงานโดยคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ของค่าวัสดุและแรงงาน
2.8 ประมาณการหากำไร โดยคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ของค่าวัสดุและแรงงาน
2.9 รวมเงิน ค่าวัสดุและแรงงาน ค่าอำนวยการและดำเนินงาน และกำไร
2.10 ประมาณการหา ค่าภาษีอากร โดยคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ของค่าวัสดุและแรงงาน + ค่าอำนวยการ
และดำเนินงาน + กำไร
2.11 สรุปค่าก่อสร้าง = ค่าวัสดุและแรงงาน x (ค่าอำนวยการและดำเนินงาน + กำไร + ภาษีอากร) =
ค่า FACTOR F + ค่าครุภัณฑ์
*** หมายเหตุ รายการที่ 2.7, 2.8, 2.9 และ 2.10 ขณะนี้ไม่ต้องใช้แล้ว
ส่วนข้อ 2.11 สรุปค่าก่อสร้าง = ค่าวัสดุและแรงงาน x FACTOR F ***
วิธีการถอดแบบคำนวณราคากลางหรือวิธีการประมาณราคาโดยละเอียดนั้นมีขั้นตอนในการปฏิบัติดังนี้
การปฏิบัติงานถอดแบบคำนวณราคากลาง
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมการ
1.1 ศึกษา หรือทำความเข้าใจเกี่ยวกับแบบรูปและรายการก่อสร้างของสิ่งปลูกสร้าง
ที่จะทำการถอดแบบคำนวณราคา
– เป็นสิ่งปลูกสร้างประเภทใด
– เป็นสิ่งปลูกสร้างตึก หรือไม้ หรือตึกครึ่งไม้
1.2 จัดทำบัญชีส่วนประกอบสิ่งปลูกสร้าง
(1) งานดิน,ทราย,ขุดดินฐานราก
(2) งานเข็มทั้งหมด
(3) งานโครงสร้าง ค.ส.ล.ทั้งหมด
(4) งานโครงหลังคาทั้งหมด
(5) งานมุงหลังคาทั้งหมด
(6) งานผิวพื้นทั้งหมด
(7) งานเพดานทั้งหมด
(8) งานผนังทั้งหมด
(9) งานประตูหน้าต่างช่องแสงทั้งหมด
(10) งานสุขภัณฑ์พร้อมอุปกรณ์ ทั้งหมด
(11) งานสุขาภิบาลทั้งหมด
(12) งานไฟฟ้าทั้งหมด
(13) งานทาสีทั้งหมด
(14) งานราวระเบียง,ราวบันไดและอื่น ๆ
(15) ค่า FACTOR F
(16) ค่าครุภัณฑ์ประกอบอาคารทั้งหมด
1.3 แบบฟอร์มการประมาณราคาให้กำหนดแยกตามประเภทชนิดของงานดังนี้
(1) แบบประมาณการงานโดยทั่วไป
(2) แบบประมาณการงาน ค.ส.ล.
(3) แบบประมาณการงานประเภทไม้
(4) แบบรวมปริมาณงานและวัสดุก่อสร้างทั้งหมดจากแบบต่าง ๆ หรือเป็น “บัญชีแสดงปริมาณงาน
และวัสดุก่อสร้าง”
(5) แบบใบสรุปราคา หรือใบปะหน้า ใช้กรอกรายละเอียด ค่าวัสดุ ค่าแรงงาน ของแต่ละรายการ
พร้อมค่าใช้จ่ายต่าง ๆ และราคาค่าก่อสร้างเพื่อแจ้งผลให้หน่วยงานเจ้าของอาคารทราบ
ขั้นตอนที่ 2 การดำเนินงาน
2.1 ประมาณการหาปริมาณงานและวัสดุก่อสร้างต่อหน่วย
(1) ประมาณการตามบัญชีส่วนประกอบอาคาร
(2) ประมาณในแบบแยกประเภทงาน
(3) เผื่อปริมาณงานและวัสดุตามเกณฑ์ที่กำหนด
2.2 นำผลที่ได้จาก 2.1 ไปกรอกลงในบัญชีแสดงปริมาณงานและวัสดุก่อสร้าง
โดยเรียงลำดับตามบัญชีส่วนประกอบอาคาร
2.3 ประมาณการหาค่าวัสดุ
นำราคาวัสดุต่อหน่วยจากบัญชีราคาวัสดุ กรอกลงในช่องราคาวัสดุต่อหน่วย
แล้ว x ด้วยจำนวนปริมาณวัสดุ นำผลที่ได้กรอกลงในช่องจำนวนเงินค่าวัสดุสิ่งของ
2.4 ประมาณการหาค่าแรงงาน
นำราคาค่าแรงงานต่อหน่วยจากบัญชีค่าแรงงาน กรอกลงในช่องค่าแรงงาน ต่อหน่วย
แล้ว x ด้วยจำนวนปริมาณวัสดุ นำผลที่ได้กรอกลงในช่องจำนวนเงินค่าแรงงาน
2.5 รวมจำนวนเงินค่าวัสดุสิ่งของ และค่าแรงงานของแต่ละรายการ นำผลที่ได้กรอกลงใน
ช่องยอดรวมค่าวัสดุและแรงงาน
2.6 รวมยอดค่าวัสดุและค่าแรงงานทั้งหมด
2.7 ประมาณการหา ค่าอำนวยการและดำเนินงานโดยคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ของค่าวัสดุและแรงงาน
2.8 ประมาณการหากำไร โดยคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ของค่าวัสดุและแรงงาน
2.9 รวมเงิน ค่าวัสดุและแรงงาน ค่าอำนวยการและดำเนินงาน และกำไร
2.10 ประมาณการหา ค่าภาษีอากร โดยคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ของค่าวัสดุและแรงงาน + ค่าอำนวยการ
และดำเนินงาน + กำไร
2.11 สรุปค่าก่อสร้าง = ค่าวัสดุและแรงงาน x (ค่าอำนวยการและดำเนินงาน + กำไร + ภาษีอากร) =
ค่า FACTOR F + ค่าครุภัณฑ์
*** หมายเหตุ รายการที่ 2.7, 2.8, 2.9 และ 2.10 ขณะนี้ไม่ต้องใช้แล้ว
ส่วนข้อ 2.11 สรุปค่าก่อสร้าง = ค่าวัสดุและแรงงาน x FACTOR F ***
หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางของอาคารและสิ่งก่อสร้าง
การจัดทำประมาณการ ค่าก่อสร้างทั้งอาคารหรือส่วนประกอบซึ่งเป็นของทางราชการที่จะต้องใช้ ประกอบการประกาศประกวดราคา และเป็นฐานเปรียบเทียบกับราคาที่ผู้รับจ้างเสนอ เพื่อจะทำการก่อสร้าง งานของทางราชการที่ใช้เงินงบประมาณ เงินบริจาคมีวัตถุประสงค์หรือเงินอื่น ๆ ที่จะต้องมีการ สอบราคา ประกวดราคา ซึ่งแต่เดิมทางกรมสามัญศึกษาได้ให้กองออกแบบและก่อสร้างเป็นผู้จัดทำ โดยการถอดแบบ รูปรายการพร้อมทั้งกำหนดราคากลางเป็นของส่วนกลาง ทั้งค่าวัสดุ ค่าแรงงาน ค่า Factor F ค่าครุภัณฑ์ และนำราคากลาง ที่จัดทำขึ้นไปใช้ทั่วประเทศ
จากข้อสังเกตของ สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน ทางโรงเรียนไม่มีการจัดตั้งคณะกรรมการกำหนด ราคากลางในส่วนท้องถิ่น เพื่อให้ได้ราคากลางเป็นราคาที่เป็นปัจจุบันทันเหตุการณ์และเป็นราคาในท้อง ถิ่น แต่ละแห่ง จึงจำเป็นจะต้องให้ทุกโรงเรียนผู้ได้รับมอบอำนาจ จัดตั้งคณะกรรมการกำหนดราคากลางขึ้น โดยใช้แนวทางในการกำหนดราคากลางของกองออกแบบและก่อสร้าง กรมสามัญศึกษา เป็นแนวปฏิบัติ ในการปรับลดหรือเพิ่มราคา ยกเว้นกรุงเทพมหานคร ให้คณะกรรมการกำหนดราคากลางที่กรม สามัญศึกษาแต่งตั้งขึ้นเป็นผู้ดำเนินการราคากลาง
1. ปริมาณวัสดุตามที่ได้จัดทำไว้มีการเผื่อความเสียหายที่จะต้องเกิดขึ้นด้วย ปริมาณวัสดุบางอย่าง จึงไม่ตรงกับที่ใช้ในการก่อสร้างจริง
2. ราคาค่าวัสดุตามที่ได้ประมาณการไว้ไม่ตรงกับราคาวัสดุที่นำมาใช้ก่อสร้าง จริง เพราะช่วง เวลาประมาณการกับช่วงซื้อวัสดุไปดำเนินการห่างกันมาก
3. ค่าแรงงานการก่อสร้างตามที่ได้ประมาณการไว้ไม่ตรงกับที่ว่าจ้างก่อสร้างจริง
4. ค่าดำเนินการต่าง ๆ ตามที่ได้ประมาณราคาไว้ไม่ตรงกับที่ใช้จ่ายจริงรวมทั้งค่าครุภัณฑ์ ประกอบอาคารด้วย เนื่องจากวัสดุก่อสร้างส่วนใหญ่ไม่สามารถจัดซื้อได้ทั้งหมดในท้องถิ่น
ราคากลางของคณะกรรมการกำหนดราคากลาง
ทางโรงเรียนจะต้องแต่งตั้งคณะกรรมการ กำหนดราคากลางในส่วนท้องถิ่น เพื่อจัดทำราคากลาง ไว้สำหรับเปรียบเทียบ ปรับลดปริมาณวัสดุและราคาวัสดุให้ใกล้เคียงกับรายละเอียดปริมาณวัสดุและราคา วัสดุที่ผู้เสนอราคาที่ได้รับการคัดเลือกไว้ การปรับลดจะต้อง ไม่เกินวงเงินที่ผู้เสนอราคาที่ได้รับการคัดเลือกไว้ และจะต้องไม่เกินวงเงินงบประมาณที่ได้รับ เมื่อปรับลดรายละเอียดปริมาณวัสดุและราคาวัสดุเรียบร้อยแล้ว ให้นำบัญชีราคาก่อสร้างที่ได้ปรับลด (ใบแสดงรายการ วัสดุฯ) ของผู้ที่ได้รับการคัดเลือกไว้เป็นส่วนหนึ่งของ สัญญาจ้างด้วย การกำหนดราคากลางในส่วนท้องถิ่นสามารถดำเนินการได้ด้วยการถอดแบบรูปก่อสร้าง อันประกอบด้วย
1. ปริมาณวัสดุ
เมื่อทางโรงเรียนได้รับแบบรูปก่อสร้างพร้อมราคากลางของกองออกแบบและก่อสร้าง แล้ว ให้คณะกรรมการกำหนดราคากลางที่ทางโรงเรียนแต่งตั้งนำราคากลางดังกล่าว มาปรับลดหรือ เพิ่มรายละเอียดปริมาณวัสดุและราคาวัสดุ เพื่อใช้เป็นราคากลางของงานที่ดำเนินการจัดจ้าง
2. ราคาวัสดุ
ได้จากราคาวัสดุที่ได้จากพาณิชย์จังหวัด หากไม่ครบทุกรายการให้ถือราคาของส่วนกลาง ตามเอกสารราคากลางของกองออกแบบและก่อสร้างได้
3. ราคาค่าแรงงาน
ได้จากบัญชีค่าแรงงานประจำจังหวัดนั้น ๆ หากไม่ครบทุกรายการให้ถือตามบัญชีค่าแรงงานที่ ทางสำนักงบประมาณประกาศ ณ ปีนั้น ๆ ตามเอกสารราคากลางของกองออกแบบและก่อสร้าง ที่ใช้ปีงบประมาณนั้น ๆ
4. ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ
(ค่า Factor F ประกอบด้วย ค่าอำนวยการ,ค่าความผันผวน,ดอกเบี้ย,กำไร,ภาษี) ได้จากเอกสารการกำหนดหลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางในการก่อสร้างของทางราชการ ซึ่งทางสำนักงบประมาณเป็นผู้กำหนด ตามเอกสารราคากลางของกองออกแบบและก่อสร้าง ที่ใช้ปีงบประมาณนั้น ๆ
5. ค่าครุภัณฑ์ประกอบอาคาร (ถ้ามี)
ได้จากบัญชีกำหนดราคามาตรฐานของกรมสามัญศึกษาเป็นเกณฑ์ สำหรับค่าครุภัณฑ์ให้นำ ไปบวกหลังจากค่า Factor F แล้ว คณะกรรมการกำหนดราคากลาง
1. คณะกรรมการกำหนดราคากลาง ประกอบด้วยกรรมการไม่น้อยกว่า 3 คน
ประธานกรรมการ 1 คน
กรรมการไม่น้อยกว่า 2 คน
2. คณะกรรมการกำหนดราคากลางควรมีคุณสมบัติและความรู้ความสามารถในเรื่องการ ประมาณ ราคา โดยโรงเรียนอาจเชิญหน่วยงานอื่นที่มีความรู้ความสามารถเข้าร่วมเป็นคณะ กรรมการ กำหนดราคากลางด้วย ราคากลางมีความหมายในตัวเองอยู่แล้ว ว่า เป็นเพียงราคาโดยประมาณหรือใกล้เคียงกับความ เป็นจริงมิใช่ราคาที่แท้จริงหรือถูกต้องตรงกับราคาของค่าก่อสร้างจริงเพราะ เมื่อก่อสร้างแล้วเสร็จก็จะไม่ ปรากฏว่าราคาค่าก่อสร้างนั้นตรงกับราคาที่ได้จัดทำไว้ทุกรายการ สาเหตุเกิดจากเหตุผลหลายประการ
จากข้อสังเกตของ สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน ทางโรงเรียนไม่มีการจัดตั้งคณะกรรมการกำหนด ราคากลางในส่วนท้องถิ่น เพื่อให้ได้ราคากลางเป็นราคาที่เป็นปัจจุบันทันเหตุการณ์และเป็นราคาในท้อง ถิ่น แต่ละแห่ง จึงจำเป็นจะต้องให้ทุกโรงเรียนผู้ได้รับมอบอำนาจ จัดตั้งคณะกรรมการกำหนดราคากลางขึ้น โดยใช้แนวทางในการกำหนดราคากลางของกองออกแบบและก่อสร้าง กรมสามัญศึกษา เป็นแนวปฏิบัติ ในการปรับลดหรือเพิ่มราคา ยกเว้นกรุงเทพมหานคร ให้คณะกรรมการกำหนดราคากลางที่กรม สามัญศึกษาแต่งตั้งขึ้นเป็นผู้ดำเนินการราคากลาง
1. ปริมาณวัสดุตามที่ได้จัดทำไว้มีการเผื่อความเสียหายที่จะต้องเกิดขึ้นด้วย ปริมาณวัสดุบางอย่าง จึงไม่ตรงกับที่ใช้ในการก่อสร้างจริง
2. ราคาค่าวัสดุตามที่ได้ประมาณการไว้ไม่ตรงกับราคาวัสดุที่นำมาใช้ก่อสร้าง จริง เพราะช่วง เวลาประมาณการกับช่วงซื้อวัสดุไปดำเนินการห่างกันมาก
3. ค่าแรงงานการก่อสร้างตามที่ได้ประมาณการไว้ไม่ตรงกับที่ว่าจ้างก่อสร้างจริง
4. ค่าดำเนินการต่าง ๆ ตามที่ได้ประมาณราคาไว้ไม่ตรงกับที่ใช้จ่ายจริงรวมทั้งค่าครุภัณฑ์ ประกอบอาคารด้วย เนื่องจากวัสดุก่อสร้างส่วนใหญ่ไม่สามารถจัดซื้อได้ทั้งหมดในท้องถิ่น
ราคากลางของคณะกรรมการกำหนดราคากลาง
ทางโรงเรียนจะต้องแต่งตั้งคณะกรรมการ กำหนดราคากลางในส่วนท้องถิ่น เพื่อจัดทำราคากลาง ไว้สำหรับเปรียบเทียบ ปรับลดปริมาณวัสดุและราคาวัสดุให้ใกล้เคียงกับรายละเอียดปริมาณวัสดุและราคา วัสดุที่ผู้เสนอราคาที่ได้รับการคัดเลือกไว้ การปรับลดจะต้อง ไม่เกินวงเงินที่ผู้เสนอราคาที่ได้รับการคัดเลือกไว้ และจะต้องไม่เกินวงเงินงบประมาณที่ได้รับ เมื่อปรับลดรายละเอียดปริมาณวัสดุและราคาวัสดุเรียบร้อยแล้ว ให้นำบัญชีราคาก่อสร้างที่ได้ปรับลด (ใบแสดงรายการ วัสดุฯ) ของผู้ที่ได้รับการคัดเลือกไว้เป็นส่วนหนึ่งของ สัญญาจ้างด้วย การกำหนดราคากลางในส่วนท้องถิ่นสามารถดำเนินการได้ด้วยการถอดแบบรูปก่อสร้าง อันประกอบด้วย
1. ปริมาณวัสดุ
เมื่อทางโรงเรียนได้รับแบบรูปก่อสร้างพร้อมราคากลางของกองออกแบบและก่อสร้าง แล้ว ให้คณะกรรมการกำหนดราคากลางที่ทางโรงเรียนแต่งตั้งนำราคากลางดังกล่าว มาปรับลดหรือ เพิ่มรายละเอียดปริมาณวัสดุและราคาวัสดุ เพื่อใช้เป็นราคากลางของงานที่ดำเนินการจัดจ้าง
2. ราคาวัสดุ
ได้จากราคาวัสดุที่ได้จากพาณิชย์จังหวัด หากไม่ครบทุกรายการให้ถือราคาของส่วนกลาง ตามเอกสารราคากลางของกองออกแบบและก่อสร้างได้
3. ราคาค่าแรงงาน
ได้จากบัญชีค่าแรงงานประจำจังหวัดนั้น ๆ หากไม่ครบทุกรายการให้ถือตามบัญชีค่าแรงงานที่ ทางสำนักงบประมาณประกาศ ณ ปีนั้น ๆ ตามเอกสารราคากลางของกองออกแบบและก่อสร้าง ที่ใช้ปีงบประมาณนั้น ๆ
4. ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ
(ค่า Factor F ประกอบด้วย ค่าอำนวยการ,ค่าความผันผวน,ดอกเบี้ย,กำไร,ภาษี) ได้จากเอกสารการกำหนดหลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางในการก่อสร้างของทางราชการ ซึ่งทางสำนักงบประมาณเป็นผู้กำหนด ตามเอกสารราคากลางของกองออกแบบและก่อสร้าง ที่ใช้ปีงบประมาณนั้น ๆ
5. ค่าครุภัณฑ์ประกอบอาคาร (ถ้ามี)
ได้จากบัญชีกำหนดราคามาตรฐานของกรมสามัญศึกษาเป็นเกณฑ์ สำหรับค่าครุภัณฑ์ให้นำ ไปบวกหลังจากค่า Factor F แล้ว คณะกรรมการกำหนดราคากลาง
1. คณะกรรมการกำหนดราคากลาง ประกอบด้วยกรรมการไม่น้อยกว่า 3 คน
ประธานกรรมการ 1 คน
กรรมการไม่น้อยกว่า 2 คน
2. คณะกรรมการกำหนดราคากลางควรมีคุณสมบัติและความรู้ความสามารถในเรื่องการ ประมาณ ราคา โดยโรงเรียนอาจเชิญหน่วยงานอื่นที่มีความรู้ความสามารถเข้าร่วมเป็นคณะ กรรมการ กำหนดราคากลางด้วย ราคากลางมีความหมายในตัวเองอยู่แล้ว ว่า เป็นเพียงราคาโดยประมาณหรือใกล้เคียงกับความ เป็นจริงมิใช่ราคาที่แท้จริงหรือถูกต้องตรงกับราคาของค่าก่อสร้างจริงเพราะ เมื่อก่อสร้างแล้วเสร็จก็จะไม่ ปรากฏว่าราคาค่าก่อสร้างนั้นตรงกับราคาที่ได้จัดทำไว้ทุกรายการ สาเหตุเกิดจากเหตุผลหลายประการ
เกณฑ์การคิดปริมาณวัสดุมวลรวมของส่วนประกอบต่าง ๆ
1. ปริมาณวัสดุมวลรวมของงานคอนกรีตส่วนผสมชนิดต่าง ๆ (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
1.1 คอนกรีตส่วนผสม 1:3:5 โดยปริมาตร ปริมาณ 1 ลบ.ม. (คอนกรีตหยาบ)
1.1.1 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ = 260 กก.
1.1.2 ทรายหยาบ = 0.63 ลบ.ม.
1.1.3 หินย่อยหรือกรวด = 1.03 ลบ.ม.
1.2 คอนกรีตส่วนผสม 1:2:4 โดยปริมาตร ปริมาณ 1 ลบ.ม.
1.2.1 ปูนซีเมนต์ ปอร์ดแลนด์ = 343 กก.
1.2.2 ทรายหยาบ = 0.56 ลบ.ม.
1.2.3 หินย่อยหรือกรวด = 1.09 ลบ.ม.
1.3 คอนกรีตส่วนผสม ค.2 ปริมาณ 1 ลบ.ม. (STRENGTH 240 กก./ตร.ซม.)
1.3.1 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ = 336 กก.
1.3.2 ทรายหยาบ = 0. 60 ลบ.ม.
1.3.3 หินย่อยหรือกรวด = 1.09 ลบ.ม.
1.4 คอนกรีตส่วนผสม ค.3 ปริมาณ 1 ลบ.ม. (STRENGTH 300 กก./ตร.ซม.)
1.4.1 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ = 360 กก.
1.4.2 ทรายหยาบ = 0.66 ลบ.ม.
1.4.3 หินย่อยหรือกรวด = 0.92 ลบ.ม.
หมายเหตุ คอนกรีตปริมาตร 1 ลบ.ม. ใช้น้ำผสมประมาณ 180 ลิตร
2. ปริมาณวัสดุมวลรวมของงานผนังก่อด้วยวัสดุชนิดต่าง ๆ
2.1 ผนังก่ออิฐดินเผาแท่งตัน (อิฐมอญขนาดแผ่นประมาณ 3.3×8.7×17.5 ซม.)
2.1.1 ก่อหนาครึ่งแผ่นอิฐ เนื้อที่ 1 ตร.ม. (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
1. อิฐมอญ = 138 แผ่น
2. ปูนซีเมนต์ผสม = 16 กก.
3. ปูนขาว = 10.29 กก.
4. ทรายหยาบ = 0.050 ลบ.ม.
5. น้ำ = 10 ลิตร
2.1.2 ก่อหนาเต็มแผ่นอิฐ เนื้อที่ 1 ตร.ม. (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
1. อิฐมอญ = 276 แผ่น
2. ปูนซีเมนต์ผสม = 34 กก.
3. ปูนขาว = 20.59 กก.
4. ทรายหยาบ = 0.12 ลบ.ม.
5. น้ำ = 20 ลิตร
2.2 ผนังก่อคอนกรีตบล๊อค
2.2.1 ผนังก่อคอนกรีตบล๊อค ขนาด 7.0×19.0x39.0 ซม. (ผนังหนา 7.0 ซม.)เนื้อที่ 1 ตร.ม. (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
1. คอนกรีตบล๊อค = 13 ก้อน
2. ปูนซีเมนต์ = 6.75 กก.
3. ปูนขาว = 3.87 กก.
4. ทรายหยาบ = 0.03 ลบ.ม.
5. น้ำ = 5 ลิตร
2.2.2 ผนังก่อคอนกรีตบล๊อค ขนาด 9.0×19.0x39.0 ซม. (ผนังหนา 9.0 ซม.)เนื้อที่ 1 ตร.ม (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
1. คอนกรีตบล๊อค = 13 ก้อน
2. ปูนซีเมนต์ = 9.47 กก.
3. ปูนขาว = 5.43 กก.
4. ทรายหยาบ = 0.04 ลบ.ม.
5. น้ำ = 5 ลิตร
2.2.3 ผนังก่อคอนกรีตบล๊อคชนิดระบายอากาศ ขนาด 9.0×19.0x39.0 ซม.เนื้อที่ 1 ตร.ม. (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
1. คอนกรีตบล๊อค = 13 ก้อน
2. ปูนซีเมนต์ = 9.47 กก.
3. ปูนขาว = 5.43 กก.
4. ทรายหยาบ = 0.04 ลบ.ม.
5. น้ำ = 5 ลิตร
หมายเหตุ
ก. ปูนก่อส่วนผสมระหว่าง ปูนซีเมนต์ ปูนขาว และทรายหยาบ ในอัตราส่วน 1:1:4 โดย
ปริมาตรปูนก่อ ปริมาตร 1 ลบ.ม. ใช้วัสดุดังนี้ (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
– ปูนซีเมนต์ = 320 กก.
– ปูนขาว = 0.25 ลบ.ม.
– ทรายหยาบ = 1.00 ลบ.ม.
ข. ปูนซีเมนต์ 1 ถุง หนัก 50 กก. ปริมาตรประมาณ 0.038 ลบ.ม.
ค. ปูนขาว 1 ถุง หนักประมาณ 7.7 กก. ปริมาตรประมาณ 0.015 ลบ.ม.
ง. แนวปูนก่อ คิดหนาประมาณ 2.0 – 2.5 ซม.
3. ปริมาณวัสดุมวลรวมของปูนฉาบ
3.1 ปูนฉาบ ส่วนผสมระหว่างปูนซีเมนต์ ปูนขาว และทรายละเอียด ในอัตราส่วน
1 : 1 : 5 โดยปริมาตรปูนฉาบ 1 ลบ.ม. ใช้วัสดุดังนี้ (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
3.1.1 ปูนซีเมนต์ผสม = 290 กก.
3.1.2 ปูนขาว = 0.26 กก.
3.1.3 ทรายละเอียด = 1.20 ลบ.ม.
3.2 ปูนฉาบหนาประมาณ 1.5 ซม. ในเนื้อที่ 1 ตร.ม. ใช้วัสดุดังนี้ (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
3.2.1 ปูนซีเมนต์ผสม = 20 กก.
3.2.2 ปูนขาว = 7.7 กก.
3.2.3 ทรายละเอียด = 0.03 ลบ.ม.
3.2.4 น้ำ = 3 ลิตร
4. ปริมาณวัสดุของงานฝาชนิดต่าง ๆ
4.1 ไม้ฝาขนาด 1/2″x6″ ตีทับเกล็ดตามตั้ง และตีซ้อนเกล็ดตามนอน ทับกัน 1 1/2″ คร่าวไม้ขนาด 1 1/2″x3″ วางห่างกัน 0.50 ม. (คร่าวทางเดียว)
เนื้อไม้ 1 ม 2 ใช้วัสดุดังนี้ (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
4.1.1 ไม้ฝา = 0.725 ลบ.ฟ.
4.1.2 ไม้คร่าว = 0.25 ลบ.ฟ.
4.1.3 ตะปู = 0.15 กก.
4.2 ฝาวัสดุแผ่นสำเร็จรูปชนิดขนาดต่าง ๆ ตีด้านเดียว คร่าวไม้ขนาด 1 1/2″x3″ วางห่างกัน 0.40×0.60 ม. (คร่าว 2 ทาง) เนื้อที่ 1 ตร.ม. ใช้วัสดุดังนี้ (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
4.2.1 วัสดุแผ่นสำเร็จรูป = 1 ตร.ม.
4.2.2 ไม้คร่าว = 0.48 ลบ.ฟ.
4.2.3 ตะปู = 0.20 กก.
4.3 ฝาวัสดุแผ่นสำเร็จรูปชนิดขนาดต่าง ๆ ตี 2 ด้าน คร่าวไม้ขนาด 1 1/2″x3″ วางห่างกัน 0.40×0.60 ม. (คร่าว 2 ทาง ) เนื้อที่ 1 ตร.ม. ใช้วัสดุดังนี้ (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
4.3.1 วัสดุแผ่นสำเร็จรูป = 2 ตร.ม.
4.3.2 ไม้คร่าว = 0.48 ลบ.ฟ.
4.3.3 ตะปู = 0.25 กก. หมายเหตุ วัสดุแผ่นสำเร็จรูป เผื่อเสียหายที่ราคาต่อ 1 ม 2 โดยให้เผื่อเสียหายที่ขนาดแผ่นของวัสดุประมาณ 10 %
5. ปริมาตรวัสดุงานฝ้าเพดานชนิดต่าง ๆ
5.1 ฝ้าเพดานวัสดุแผ่นสำเร็จรูปขนาดต่าง ๆ คร่าวไม้ขนาด 1 1/2″x3″ วางห่างกัน 0.40×0.60 ม. (คร่าว 2 ทาง)
5.1.1 วัสดุแผ่นสำเร็จรูป = 1 ตร.ม.
5.1.2 ไม้คร่าว = 0.51 ลบ.ฟ.
5.1.3 ตะปู = 0.20 กก.
หมายเหตุ วัสดุแผ่นสำเร็จรูปเผื่อเสียหายที่ราคาต่อ 1 ม 2 โดยให้เผื่อเสียหายที่ขนาดแผ่นของวัสดุประมาณ 10%
5.2 ฝ้าเพดานไม้ขนาด 1/2″ ความกว้างขนาดต่าง ๆ คร่าวไม้ขนาด 1 1/2″x3″ วางห่างกัน 0.40 ม. (คร่าวทางเดียว)
เนื้อที่ 1 ตร.ม. ใช้วัสดุดังนี้ (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
5.2.1 ไม้ฝ้าเพดาน = 0.55 ลบ.ฟ.
5.2.2 ไม้คร่าว = 0.25 ลบ.ฟ.
5.2.3 ตะปู = 0.30 กก.
6. ปริมาณ วัสดุของงานปูพื้นและบุผนังด้วยวัสดุแผ่นสำเร็จรูปชนิดขนาดต่าง ๆ ที่มีปูนทรายยึด ปูนทราย ส่วนผสมระหว่างปูนซีเมนต์และทรายหยาบในอัตราส่วน 1: 3 โดยปริมาตร ปริมาณ 1 ลบ.ม. ใช้วัสดุดังนี้ (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
– ปูนซีเมนต์ = 400 กก.
– ทรายหยาบ = 0.912 ลบ.ม.
6.1 พื้นปูวัสดุแผ่นสำเร็จรูปขนาดต่าง ๆ (ปูนทรายใช้หนา 5 ซม.) เนื้อที่ 1 ตร.ม. ใช้วัสดุดังนี้
6.1.1 วัสดุแผ่นจำนวนแผ่น = ปริมาณที่ใช้จริงใน 1 ตร.ม. + เผื่อเสียหาย 5%
6.1.2 ปูนซีเมนต์ผสม = 20 กก.
6.1.3 ทรายหยาบ = 0.11 ลบ.ม.
6.1.4 น้ำ = 6 ลิตร
6.2 ผนังบุวัสดุแผ่นสำเร็จรูปชนิดต่าง ๆ (ปูนทรายใช้หนา 3 ซม.) เนื้อที่ 1 ตร.ม. ใช้วัสดุดังนี้
6.2.1 วัสดุแผ่นจำนวนแผ่น = ปริมาณที่ใช้จริงใน 1 ตร.ม. + เผื่อเสียหาย 5%
6.2.2 ปูนซีเมนต์ = 12 กก.
6.2.3 ทรายหยาบ = 0.07 ลบ.ม.
6.2.4 น้ำ = 4 ลิตร
7. ปริมาณวัสดุของงานปูนทราย ปูนทราย ส่วนผสมระหว่างปูนซีเมนต์และทรายหยาบ ในอัตราส่วน 1:3 โดยปริมาตร ปริมาณ 1 ลบ.ม. ใช้วัสดุดังนี้ (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
– ปูนซีเมนต์ผสม = 400 กก.
– ทรายหยาบ = 0.912 ลบ.ม.
7.1 ปูนทรายของงานฉาบผิวซีเมนต์ขัดมันและซีเมนต์ขัดหยาบ (หนา 2 มม.) เนื้อที่ 1 ตร.ม. ใช้วัสดุดังนี้
7.1.1 ปูนซีเมนต์ผสม = 11 กก.
7.1.2 ทรายหยาบ = 0.018 ลบ.ม.
7.1.3 ปูนขาว = 7.7 กก.
7.1.4 น้ำ = 3 ลิตร
7.2 ปูนทรายของงานปูนทรายรองพื้น ผนังทรายล้างหรือหินล้าง (หนา 3 ซม.) เนื้อที่ 1 ตร.ม. ใช้วัสดุ ดังนี้
7.2.1 ปูนซีเมนต์ผสม = 12 กก.
7.2.2 ทรายหยาบ = 0.07 ลบ.ม.
7.2.3 น้ำ = 4 ลิตร
7.3 ปูนทรายของงาน ปูนทรายรองพื้น พื้นทรายล้างหรือหินล้างหรือหินขัด หรือแต่งผิวดาดฟ้า (ต้องเอียงลาด) (หนา 5 ซม.) เนื้อที่ 1 ตร.ม. ใช้วัสดุดังนี้
7.3.1 ปูนซีเมนต์ผสม = 20 กก.
7.3.2 ทรายหยาบ = 0.11 ลบ.ม.
7.3.3 น้ำ = 6 ลิตร
ปริมาณวัสดุของงานพื้นไม้ชนิดเข้าลิ้น ความหนา 1″ ทุกขนาด ความกว้างเนื้อที่ 1 ตร.ม.
ใช้ไม้ประมาณ = 1.15 ลบ.ฟ. (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
1.1 คอนกรีตส่วนผสม 1:3:5 โดยปริมาตร ปริมาณ 1 ลบ.ม. (คอนกรีตหยาบ)
1.1.1 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ = 260 กก.
1.1.2 ทรายหยาบ = 0.63 ลบ.ม.
1.1.3 หินย่อยหรือกรวด = 1.03 ลบ.ม.
1.2 คอนกรีตส่วนผสม 1:2:4 โดยปริมาตร ปริมาณ 1 ลบ.ม.
1.2.1 ปูนซีเมนต์ ปอร์ดแลนด์ = 343 กก.
1.2.2 ทรายหยาบ = 0.56 ลบ.ม.
1.2.3 หินย่อยหรือกรวด = 1.09 ลบ.ม.
1.3 คอนกรีตส่วนผสม ค.2 ปริมาณ 1 ลบ.ม. (STRENGTH 240 กก./ตร.ซม.)
1.3.1 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ = 336 กก.
1.3.2 ทรายหยาบ = 0. 60 ลบ.ม.
1.3.3 หินย่อยหรือกรวด = 1.09 ลบ.ม.
1.4 คอนกรีตส่วนผสม ค.3 ปริมาณ 1 ลบ.ม. (STRENGTH 300 กก./ตร.ซม.)
1.4.1 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ = 360 กก.
1.4.2 ทรายหยาบ = 0.66 ลบ.ม.
1.4.3 หินย่อยหรือกรวด = 0.92 ลบ.ม.
หมายเหตุ คอนกรีตปริมาตร 1 ลบ.ม. ใช้น้ำผสมประมาณ 180 ลิตร
2. ปริมาณวัสดุมวลรวมของงานผนังก่อด้วยวัสดุชนิดต่าง ๆ
2.1 ผนังก่ออิฐดินเผาแท่งตัน (อิฐมอญขนาดแผ่นประมาณ 3.3×8.7×17.5 ซม.)
2.1.1 ก่อหนาครึ่งแผ่นอิฐ เนื้อที่ 1 ตร.ม. (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
1. อิฐมอญ = 138 แผ่น
2. ปูนซีเมนต์ผสม = 16 กก.
3. ปูนขาว = 10.29 กก.
4. ทรายหยาบ = 0.050 ลบ.ม.
5. น้ำ = 10 ลิตร
2.1.2 ก่อหนาเต็มแผ่นอิฐ เนื้อที่ 1 ตร.ม. (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
1. อิฐมอญ = 276 แผ่น
2. ปูนซีเมนต์ผสม = 34 กก.
3. ปูนขาว = 20.59 กก.
4. ทรายหยาบ = 0.12 ลบ.ม.
5. น้ำ = 20 ลิตร
2.2 ผนังก่อคอนกรีตบล๊อค
2.2.1 ผนังก่อคอนกรีตบล๊อค ขนาด 7.0×19.0x39.0 ซม. (ผนังหนา 7.0 ซม.)เนื้อที่ 1 ตร.ม. (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
1. คอนกรีตบล๊อค = 13 ก้อน
2. ปูนซีเมนต์ = 6.75 กก.
3. ปูนขาว = 3.87 กก.
4. ทรายหยาบ = 0.03 ลบ.ม.
5. น้ำ = 5 ลิตร
2.2.2 ผนังก่อคอนกรีตบล๊อค ขนาด 9.0×19.0x39.0 ซม. (ผนังหนา 9.0 ซม.)เนื้อที่ 1 ตร.ม (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
1. คอนกรีตบล๊อค = 13 ก้อน
2. ปูนซีเมนต์ = 9.47 กก.
3. ปูนขาว = 5.43 กก.
4. ทรายหยาบ = 0.04 ลบ.ม.
5. น้ำ = 5 ลิตร
2.2.3 ผนังก่อคอนกรีตบล๊อคชนิดระบายอากาศ ขนาด 9.0×19.0x39.0 ซม.เนื้อที่ 1 ตร.ม. (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
1. คอนกรีตบล๊อค = 13 ก้อน
2. ปูนซีเมนต์ = 9.47 กก.
3. ปูนขาว = 5.43 กก.
4. ทรายหยาบ = 0.04 ลบ.ม.
5. น้ำ = 5 ลิตร
หมายเหตุ
ก. ปูนก่อส่วนผสมระหว่าง ปูนซีเมนต์ ปูนขาว และทรายหยาบ ในอัตราส่วน 1:1:4 โดย
ปริมาตรปูนก่อ ปริมาตร 1 ลบ.ม. ใช้วัสดุดังนี้ (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
– ปูนซีเมนต์ = 320 กก.
– ปูนขาว = 0.25 ลบ.ม.
– ทรายหยาบ = 1.00 ลบ.ม.
ข. ปูนซีเมนต์ 1 ถุง หนัก 50 กก. ปริมาตรประมาณ 0.038 ลบ.ม.
ค. ปูนขาว 1 ถุง หนักประมาณ 7.7 กก. ปริมาตรประมาณ 0.015 ลบ.ม.
ง. แนวปูนก่อ คิดหนาประมาณ 2.0 – 2.5 ซม.
3. ปริมาณวัสดุมวลรวมของปูนฉาบ
3.1 ปูนฉาบ ส่วนผสมระหว่างปูนซีเมนต์ ปูนขาว และทรายละเอียด ในอัตราส่วน
1 : 1 : 5 โดยปริมาตรปูนฉาบ 1 ลบ.ม. ใช้วัสดุดังนี้ (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
3.1.1 ปูนซีเมนต์ผสม = 290 กก.
3.1.2 ปูนขาว = 0.26 กก.
3.1.3 ทรายละเอียด = 1.20 ลบ.ม.
3.2 ปูนฉาบหนาประมาณ 1.5 ซม. ในเนื้อที่ 1 ตร.ม. ใช้วัสดุดังนี้ (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
3.2.1 ปูนซีเมนต์ผสม = 20 กก.
3.2.2 ปูนขาว = 7.7 กก.
3.2.3 ทรายละเอียด = 0.03 ลบ.ม.
3.2.4 น้ำ = 3 ลิตร
4. ปริมาณวัสดุของงานฝาชนิดต่าง ๆ
4.1 ไม้ฝาขนาด 1/2″x6″ ตีทับเกล็ดตามตั้ง และตีซ้อนเกล็ดตามนอน ทับกัน 1 1/2″ คร่าวไม้ขนาด 1 1/2″x3″ วางห่างกัน 0.50 ม. (คร่าวทางเดียว)
เนื้อไม้ 1 ม 2 ใช้วัสดุดังนี้ (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
4.1.1 ไม้ฝา = 0.725 ลบ.ฟ.
4.1.2 ไม้คร่าว = 0.25 ลบ.ฟ.
4.1.3 ตะปู = 0.15 กก.
4.2 ฝาวัสดุแผ่นสำเร็จรูปชนิดขนาดต่าง ๆ ตีด้านเดียว คร่าวไม้ขนาด 1 1/2″x3″ วางห่างกัน 0.40×0.60 ม. (คร่าว 2 ทาง) เนื้อที่ 1 ตร.ม. ใช้วัสดุดังนี้ (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
4.2.1 วัสดุแผ่นสำเร็จรูป = 1 ตร.ม.
4.2.2 ไม้คร่าว = 0.48 ลบ.ฟ.
4.2.3 ตะปู = 0.20 กก.
4.3 ฝาวัสดุแผ่นสำเร็จรูปชนิดขนาดต่าง ๆ ตี 2 ด้าน คร่าวไม้ขนาด 1 1/2″x3″ วางห่างกัน 0.40×0.60 ม. (คร่าว 2 ทาง ) เนื้อที่ 1 ตร.ม. ใช้วัสดุดังนี้ (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
4.3.1 วัสดุแผ่นสำเร็จรูป = 2 ตร.ม.
4.3.2 ไม้คร่าว = 0.48 ลบ.ฟ.
4.3.3 ตะปู = 0.25 กก. หมายเหตุ วัสดุแผ่นสำเร็จรูป เผื่อเสียหายที่ราคาต่อ 1 ม 2 โดยให้เผื่อเสียหายที่ขนาดแผ่นของวัสดุประมาณ 10 %
5. ปริมาตรวัสดุงานฝ้าเพดานชนิดต่าง ๆ
5.1 ฝ้าเพดานวัสดุแผ่นสำเร็จรูปขนาดต่าง ๆ คร่าวไม้ขนาด 1 1/2″x3″ วางห่างกัน 0.40×0.60 ม. (คร่าว 2 ทาง)
5.1.1 วัสดุแผ่นสำเร็จรูป = 1 ตร.ม.
5.1.2 ไม้คร่าว = 0.51 ลบ.ฟ.
5.1.3 ตะปู = 0.20 กก.
หมายเหตุ วัสดุแผ่นสำเร็จรูปเผื่อเสียหายที่ราคาต่อ 1 ม 2 โดยให้เผื่อเสียหายที่ขนาดแผ่นของวัสดุประมาณ 10%
5.2 ฝ้าเพดานไม้ขนาด 1/2″ ความกว้างขนาดต่าง ๆ คร่าวไม้ขนาด 1 1/2″x3″ วางห่างกัน 0.40 ม. (คร่าวทางเดียว)
เนื้อที่ 1 ตร.ม. ใช้วัสดุดังนี้ (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
5.2.1 ไม้ฝ้าเพดาน = 0.55 ลบ.ฟ.
5.2.2 ไม้คร่าว = 0.25 ลบ.ฟ.
5.2.3 ตะปู = 0.30 กก.
6. ปริมาณ วัสดุของงานปูพื้นและบุผนังด้วยวัสดุแผ่นสำเร็จรูปชนิดขนาดต่าง ๆ ที่มีปูนทรายยึด ปูนทราย ส่วนผสมระหว่างปูนซีเมนต์และทรายหยาบในอัตราส่วน 1: 3 โดยปริมาตร ปริมาณ 1 ลบ.ม. ใช้วัสดุดังนี้ (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
– ปูนซีเมนต์ = 400 กก.
– ทรายหยาบ = 0.912 ลบ.ม.
6.1 พื้นปูวัสดุแผ่นสำเร็จรูปขนาดต่าง ๆ (ปูนทรายใช้หนา 5 ซม.) เนื้อที่ 1 ตร.ม. ใช้วัสดุดังนี้
6.1.1 วัสดุแผ่นจำนวนแผ่น = ปริมาณที่ใช้จริงใน 1 ตร.ม. + เผื่อเสียหาย 5%
6.1.2 ปูนซีเมนต์ผสม = 20 กก.
6.1.3 ทรายหยาบ = 0.11 ลบ.ม.
6.1.4 น้ำ = 6 ลิตร
6.2 ผนังบุวัสดุแผ่นสำเร็จรูปชนิดต่าง ๆ (ปูนทรายใช้หนา 3 ซม.) เนื้อที่ 1 ตร.ม. ใช้วัสดุดังนี้
6.2.1 วัสดุแผ่นจำนวนแผ่น = ปริมาณที่ใช้จริงใน 1 ตร.ม. + เผื่อเสียหาย 5%
6.2.2 ปูนซีเมนต์ = 12 กก.
6.2.3 ทรายหยาบ = 0.07 ลบ.ม.
6.2.4 น้ำ = 4 ลิตร
7. ปริมาณวัสดุของงานปูนทราย ปูนทราย ส่วนผสมระหว่างปูนซีเมนต์และทรายหยาบ ในอัตราส่วน 1:3 โดยปริมาตร ปริมาณ 1 ลบ.ม. ใช้วัสดุดังนี้ (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
– ปูนซีเมนต์ผสม = 400 กก.
– ทรายหยาบ = 0.912 ลบ.ม.
7.1 ปูนทรายของงานฉาบผิวซีเมนต์ขัดมันและซีเมนต์ขัดหยาบ (หนา 2 มม.) เนื้อที่ 1 ตร.ม. ใช้วัสดุดังนี้
7.1.1 ปูนซีเมนต์ผสม = 11 กก.
7.1.2 ทรายหยาบ = 0.018 ลบ.ม.
7.1.3 ปูนขาว = 7.7 กก.
7.1.4 น้ำ = 3 ลิตร
7.2 ปูนทรายของงานปูนทรายรองพื้น ผนังทรายล้างหรือหินล้าง (หนา 3 ซม.) เนื้อที่ 1 ตร.ม. ใช้วัสดุ ดังนี้
7.2.1 ปูนซีเมนต์ผสม = 12 กก.
7.2.2 ทรายหยาบ = 0.07 ลบ.ม.
7.2.3 น้ำ = 4 ลิตร
7.3 ปูนทรายของงาน ปูนทรายรองพื้น พื้นทรายล้างหรือหินล้างหรือหินขัด หรือแต่งผิวดาดฟ้า (ต้องเอียงลาด) (หนา 5 ซม.) เนื้อที่ 1 ตร.ม. ใช้วัสดุดังนี้
7.3.1 ปูนซีเมนต์ผสม = 20 กก.
7.3.2 ทรายหยาบ = 0.11 ลบ.ม.
7.3.3 น้ำ = 6 ลิตร
ปริมาณวัสดุของงานพื้นไม้ชนิดเข้าลิ้น ความหนา 1″ ทุกขนาด ความกว้างเนื้อที่ 1 ตร.ม.
ใช้ไม้ประมาณ = 1.15 ลบ.ฟ. (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
เกณฑ์การถอดแบบสำรวจปริมาณงานและวัสดุก่อสร้าง เพื่อคำนวณราคา ตามหลักวิชาช่าง
เกณฑ์การถอดแบบสำรวจปริมาณงานและวัสดุก่อสร้าง เพื่อคำนวณราคา ตามหลักวิชาช่าง
1. งานขุดดินฐานรากและถมดิน เผื่อกันดินพังและทำงานสะดวก 30%
2. งานถมวัสดุรองพื้นหรือปรับระดับ เผื่อการยุบตัวเนื่องจากการบดอัดแน่นด้วยแรงคน
2.1 งานถมทราย เผื่อ 25%
2.2 งานถมดิน เผื่อ 25%
2.3 งานถมลูกรัง เผื่อ 25%
2.4 งานถมอิฐหัก เผื่อ 25%
3. งานไม้แบบหล่อคอนกรีต ใช้ปริมาณวัสดุตามเกณฑ์ดังต่อไปนี้
3.1 ไม้แบบหนา 1″ เนื้อที่ 1 ตารางเมตร ใช้ไม้ประมาณ 1 ลูกบาศก์ฟุต
3.2 ไม้คร่าวยึดไม้แบบ ใช้ 30% ของปริมาณไม้แบบ
3.3 ไม้ค้ำยันไม้แบบ
3.3.1 ไม้ค้ำยันท้องคานและงานประเภทคานใช้ 1 ต้น/ความยาว 1 เมตร
3.3.2 ไม้ค้ำยันท้องพื้นและงานประเภทพื้นใช้ 1 ต้น/ตารางเมตร
3.4 ตะปูยึดงานไม้แบบใช้ 0.30 กก./ไม้แบบ 1 ตารางเมตร
การลดปริมาณไม้แบบ ไม้คร่าว และไม้ค้ำยัน เนื่องจากใช้งานได้หลายครั้ง
– อาคารชั้นเดียว ลดไม้ 20% ใช้ 80%
– อาคารสองชั้น ลดไม้ 30% ใช้ 70%
– อาคารสามชั้น ลดไม้ 40% ใช้ 60%
– อาคารสี่ชั้นขึ้นไป ลดไม้ 50% ใช้ 50%
4. งานเหล็กเสริมคอนกรีต
4.1 น้ำหนักเหล็กเส้น
4.1.1 เหล็กเส้นกลมผิวเรียบ คุณภาพ SR 24
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 6 มม. หนัก 0.222 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 9 มม. หนัก 0.499 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 12 มม. หนัก 0.888 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 15 มม. หนัก 1.390 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 19 มม. หนัก 2.230 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 25 มม. หนัก 3.850 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 28 มม. หนัก 4.830 กก./ม.
4.1.2 เหล็กเส้นกลมผิวข้ออ้อย คุณภาพ SD 30, SD 35 และ SD 40
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 9.5 มม. หนัก 0.556 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 12 มม. หนัก 0.888 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 16 มม. หนัก 1.580 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 20 มม. หนัก 2.470 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 25 มม. หนัก 3.850 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 28 มม. หนัก 4.830 กก./ม.
4.2 การถอดแบบสำรวจปริมาณเหล็กเสริม
4.2.1 เพื่อการคิดเร็ว คิดเหล็กเสริมทุกชนิดเป็นเส้นตรง โดยไม่ต้องเผื่อความยาวของเหล็ก
เสริม ที่ต้องทาบต่อ งอปลาย ดัดคอม้า และเหลือเศษสั้นใช้งานไม่ได้ ให้คิดหาปริมาณเหล็ก
ของงานต่าง ๆ ตามเกณฑ์ดังต่อไปนี้
(1) เหล็กตะแกรงของฐานราก ให้คิดความยาวของเหล็กเท่ากับความกว้างและ
ความหนาของฐานราก
(2) เหล็กยืนของเสาตอม่อ ปลายเหล็กยืนส่วนที่ดัดงอเป็นมุม 90 เพื่อยึดติดกับ
เหล็กตะแกรงของฐานราก ให้คิดความยาวประมาณ ? ของความกว้างของฐานราก
(3) เหล็กยืนของเสาให้คิดความยาวเท่ากับความยาวของเสา เหล็กปลอกของเสาให้คิด
ความยาวต่อ 1 ปลอกเท่ากับความยาวของเส้นรอบรูปเสา
(4) เหล็กนอนของคานทั้งเหล็กตรงและเหล็กคอม้า ให้คิดความยาวเท่ากับความยาว
ของคาน
– เหล็กปลอกของคานให้คิดความยาวต่อ 1 ปลอกเท่ากับความยาวของเส้น
รอบรูปคาน
(5) เหล็กตะแกรงของพื้นเหล็กตรงและเหล็กคอม้า ให้คิดความยาวเท่ากับความกว้าง
ของพื้น
– เหล็กเสริมพิเศษให้คิดความยาวตามที่กำหนดไว้ในแบบแปลน
(6) เหล็กนอนของบันไดให้คิดความยาวเท่ากับความกว้างของบันได,
เหล็กลูกโซ่ของบันไดให้คิดความยาวเท่ากับความกว้างของลูกนอนและความสูง
ของลูกตั้ง
(7) เหล็กนอนของเอ็นยึดผนังและบัวใต้หน้าต่าง
ให้คิดความยาวเท่ากับความยาวของเอ็นยึดผนังและบัวใต้หน้าต่าง
– เหล็กลูกโซ่ของเอ็นยึดผนังและบัวใต้หน้าต่างให้คิดความยาวเท่ากับความกว้าง
ของเอ็นยึดผนังและบัวใต้หน้าต่าง
(8) เหล็กยืน เหล็กนอนและเหล็กคอม้าของผนังให้คิดความยาวเท่ากับความสูงและ
ความกว้างของผนัง
– เหล็กเสริมพิเศษของผนังให้คิดความยาวตามที่กำหนดไว้ในแบบแปลน
(9) เหล็กเสริมของงานอื่น ๆ หากคล้ายคลึงกับงานประเภทใดใน (1)-(8) ให้คิดเหมือน
ประเภทนั้น ๆ หากไม่คล้ายคลึงให้ผู้ถอดแบบสำรวจปริมาณ ประมาณการโดยยึด
หลักเกณฑ์ดังกล่าวข้างต้น
4.2.2 เมื่อได้ถอดแบบสำรวจปริมาณเหล็กเสริมตามเกณฑ์ในข้อ 4.2.1 และรวมปริมาณ
เหล็กเสริมทั้งหมดแล้ว ให้คิดเผื่อเหล็กเสริม เนื่องจากต้องทาบต่อ งอปลาย ดัดคอม้า
และเหลือเศษนั้นใช้งานไม่ได้ ของเหล็กเสริม แต่ละขนาดทั้งเหล็กเส้นกลมผิว
เรียบ และเหล็กเสริมกลมผิวข้ออ้อย ตามเกณฑ์ต่อไปนี้
เหล็กเสริมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 6 มม. เผื่อ 5%
เหล็กเสริมขนาด เส้นผ่าศูนย์กลาง 9 มม. เผื่อ 7%
เหล็กเสริมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 9.5 มม. เผื่อ 7%
เหล็กเสริมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 12 มม. เผื่อ 9%
เหล็กเสริมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 15 มม. เผื่อ 11%
เหล็กเสริมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 16 มม. เผื่อ 11%
เหล็กเสริมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 19 มม. เผื่อ 13%
เหล็กเสริมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 20 มม. เผื่อ 13%
เหล็กเสริมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 25 มม. เผื่อ 15%
เหล็กเสริมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 28 มม. เผื่อ 15%
4.3 งานผูกเหล็กเสริมใช้ลวดผูกเบอร์ 18 จำนวน 15 กิโลกรัม/เหล็กเสริม 1 เมตริกตัน
5. ปริมาณตะปูของงานประเภท
5.1 งานวางคาน ตง และปูพื้นไม้ ใช้ตะปูประมาณ 1.20 กก./ ตร.ม.
5.2 งานติดตั้งโครงหลังคาไม้ทรงต่าง ๆ
5.2.1 ทรงเพิงแหงน ใช้ตะปูประมาณ 0.20 กก./ ตร.ม.
5.2.2 ทรงจั่ว ใช้ตะปูประมาณ 0.20 กก./ ตร.ม.
5.2.3 ทรงปั้นหยา ใช้ตะปูประมาณ 0.25 กก./ ตร.ม.
5.2.4 ทรงไทย ใช้ตะปูประมาณ 0.30 กก./ ตร.ม.
6. การ คิดปริมาณไม้ของงานก่อสร้างส่วนประกอบต่าง ๆ ของอาคารและสิ่งปลูกสร้าง ขนาดหน้าตัดของไม้ตามแบบแปลน ความยาววัดจากแบบโดยเผื่อการทาบต่อ แตกปลายและต้องใช้ไม้ตามความยาวมาตรฐาน ที่มีจำหน่ายในท้องตลาดเป็นเกณฑ์ประกอบ ทั้งนี้ผู้ถอดแบบสำรวจปริมาณต้องใช้ดุลยพินิจให้เหมาะสม
6.1 การคิดปริมาณไม้หน้าตัดเป็นนิ้ว ความยาวเป็นเมตร ให้คูณด้วยตัวคงที่ 0.0228 หน่วยเป็น ลูกบาศก์ฟุต
ตัวอย่าง ไม้ขนาดหน้าตัด 1″x8″ ยาว 10 เมตร
คิดเป็นปริมาตร = 1x8x10x0.0228 = 1.824 ลูกบาศก์ฟุต
1. งานขุดดินฐานรากและถมดิน เผื่อกันดินพังและทำงานสะดวก 30%
2. งานถมวัสดุรองพื้นหรือปรับระดับ เผื่อการยุบตัวเนื่องจากการบดอัดแน่นด้วยแรงคน
2.1 งานถมทราย เผื่อ 25%
2.2 งานถมดิน เผื่อ 25%
2.3 งานถมลูกรัง เผื่อ 25%
2.4 งานถมอิฐหัก เผื่อ 25%
3. งานไม้แบบหล่อคอนกรีต ใช้ปริมาณวัสดุตามเกณฑ์ดังต่อไปนี้
3.1 ไม้แบบหนา 1″ เนื้อที่ 1 ตารางเมตร ใช้ไม้ประมาณ 1 ลูกบาศก์ฟุต
3.2 ไม้คร่าวยึดไม้แบบ ใช้ 30% ของปริมาณไม้แบบ
3.3 ไม้ค้ำยันไม้แบบ
3.3.1 ไม้ค้ำยันท้องคานและงานประเภทคานใช้ 1 ต้น/ความยาว 1 เมตร
3.3.2 ไม้ค้ำยันท้องพื้นและงานประเภทพื้นใช้ 1 ต้น/ตารางเมตร
3.4 ตะปูยึดงานไม้แบบใช้ 0.30 กก./ไม้แบบ 1 ตารางเมตร
การลดปริมาณไม้แบบ ไม้คร่าว และไม้ค้ำยัน เนื่องจากใช้งานได้หลายครั้ง
– อาคารชั้นเดียว ลดไม้ 20% ใช้ 80%
– อาคารสองชั้น ลดไม้ 30% ใช้ 70%
– อาคารสามชั้น ลดไม้ 40% ใช้ 60%
– อาคารสี่ชั้นขึ้นไป ลดไม้ 50% ใช้ 50%
4. งานเหล็กเสริมคอนกรีต
4.1 น้ำหนักเหล็กเส้น
4.1.1 เหล็กเส้นกลมผิวเรียบ คุณภาพ SR 24
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 6 มม. หนัก 0.222 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 9 มม. หนัก 0.499 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 12 มม. หนัก 0.888 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 15 มม. หนัก 1.390 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 19 มม. หนัก 2.230 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 25 มม. หนัก 3.850 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 28 มม. หนัก 4.830 กก./ม.
4.1.2 เหล็กเส้นกลมผิวข้ออ้อย คุณภาพ SD 30, SD 35 และ SD 40
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 9.5 มม. หนัก 0.556 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 12 มม. หนัก 0.888 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 16 มม. หนัก 1.580 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 20 มม. หนัก 2.470 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 25 มม. หนัก 3.850 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 28 มม. หนัก 4.830 กก./ม.
4.2 การถอดแบบสำรวจปริมาณเหล็กเสริม
4.2.1 เพื่อการคิดเร็ว คิดเหล็กเสริมทุกชนิดเป็นเส้นตรง โดยไม่ต้องเผื่อความยาวของเหล็ก
เสริม ที่ต้องทาบต่อ งอปลาย ดัดคอม้า และเหลือเศษสั้นใช้งานไม่ได้ ให้คิดหาปริมาณเหล็ก
ของงานต่าง ๆ ตามเกณฑ์ดังต่อไปนี้
(1) เหล็กตะแกรงของฐานราก ให้คิดความยาวของเหล็กเท่ากับความกว้างและ
ความหนาของฐานราก
(2) เหล็กยืนของเสาตอม่อ ปลายเหล็กยืนส่วนที่ดัดงอเป็นมุม 90 เพื่อยึดติดกับ
เหล็กตะแกรงของฐานราก ให้คิดความยาวประมาณ ? ของความกว้างของฐานราก
(3) เหล็กยืนของเสาให้คิดความยาวเท่ากับความยาวของเสา เหล็กปลอกของเสาให้คิด
ความยาวต่อ 1 ปลอกเท่ากับความยาวของเส้นรอบรูปเสา
(4) เหล็กนอนของคานทั้งเหล็กตรงและเหล็กคอม้า ให้คิดความยาวเท่ากับความยาว
ของคาน
– เหล็กปลอกของคานให้คิดความยาวต่อ 1 ปลอกเท่ากับความยาวของเส้น
รอบรูปคาน
(5) เหล็กตะแกรงของพื้นเหล็กตรงและเหล็กคอม้า ให้คิดความยาวเท่ากับความกว้าง
ของพื้น
– เหล็กเสริมพิเศษให้คิดความยาวตามที่กำหนดไว้ในแบบแปลน
(6) เหล็กนอนของบันไดให้คิดความยาวเท่ากับความกว้างของบันได,
เหล็กลูกโซ่ของบันไดให้คิดความยาวเท่ากับความกว้างของลูกนอนและความสูง
ของลูกตั้ง
(7) เหล็กนอนของเอ็นยึดผนังและบัวใต้หน้าต่าง
ให้คิดความยาวเท่ากับความยาวของเอ็นยึดผนังและบัวใต้หน้าต่าง
– เหล็กลูกโซ่ของเอ็นยึดผนังและบัวใต้หน้าต่างให้คิดความยาวเท่ากับความกว้าง
ของเอ็นยึดผนังและบัวใต้หน้าต่าง
(8) เหล็กยืน เหล็กนอนและเหล็กคอม้าของผนังให้คิดความยาวเท่ากับความสูงและ
ความกว้างของผนัง
– เหล็กเสริมพิเศษของผนังให้คิดความยาวตามที่กำหนดไว้ในแบบแปลน
(9) เหล็กเสริมของงานอื่น ๆ หากคล้ายคลึงกับงานประเภทใดใน (1)-(8) ให้คิดเหมือน
ประเภทนั้น ๆ หากไม่คล้ายคลึงให้ผู้ถอดแบบสำรวจปริมาณ ประมาณการโดยยึด
หลักเกณฑ์ดังกล่าวข้างต้น
4.2.2 เมื่อได้ถอดแบบสำรวจปริมาณเหล็กเสริมตามเกณฑ์ในข้อ 4.2.1 และรวมปริมาณ
เหล็กเสริมทั้งหมดแล้ว ให้คิดเผื่อเหล็กเสริม เนื่องจากต้องทาบต่อ งอปลาย ดัดคอม้า
และเหลือเศษนั้นใช้งานไม่ได้ ของเหล็กเสริม แต่ละขนาดทั้งเหล็กเส้นกลมผิว
เรียบ และเหล็กเสริมกลมผิวข้ออ้อย ตามเกณฑ์ต่อไปนี้
เหล็กเสริมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 6 มม. เผื่อ 5%
เหล็กเสริมขนาด เส้นผ่าศูนย์กลาง 9 มม. เผื่อ 7%
เหล็กเสริมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 9.5 มม. เผื่อ 7%
เหล็กเสริมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 12 มม. เผื่อ 9%
เหล็กเสริมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 15 มม. เผื่อ 11%
เหล็กเสริมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 16 มม. เผื่อ 11%
เหล็กเสริมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 19 มม. เผื่อ 13%
เหล็กเสริมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 20 มม. เผื่อ 13%
เหล็กเสริมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 25 มม. เผื่อ 15%
เหล็กเสริมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 28 มม. เผื่อ 15%
4.3 งานผูกเหล็กเสริมใช้ลวดผูกเบอร์ 18 จำนวน 15 กิโลกรัม/เหล็กเสริม 1 เมตริกตัน
5. ปริมาณตะปูของงานประเภท
5.1 งานวางคาน ตง และปูพื้นไม้ ใช้ตะปูประมาณ 1.20 กก./ ตร.ม.
5.2 งานติดตั้งโครงหลังคาไม้ทรงต่าง ๆ
5.2.1 ทรงเพิงแหงน ใช้ตะปูประมาณ 0.20 กก./ ตร.ม.
5.2.2 ทรงจั่ว ใช้ตะปูประมาณ 0.20 กก./ ตร.ม.
5.2.3 ทรงปั้นหยา ใช้ตะปูประมาณ 0.25 กก./ ตร.ม.
5.2.4 ทรงไทย ใช้ตะปูประมาณ 0.30 กก./ ตร.ม.
6. การ คิดปริมาณไม้ของงานก่อสร้างส่วนประกอบต่าง ๆ ของอาคารและสิ่งปลูกสร้าง ขนาดหน้าตัดของไม้ตามแบบแปลน ความยาววัดจากแบบโดยเผื่อการทาบต่อ แตกปลายและต้องใช้ไม้ตามความยาวมาตรฐาน ที่มีจำหน่ายในท้องตลาดเป็นเกณฑ์ประกอบ ทั้งนี้ผู้ถอดแบบสำรวจปริมาณต้องใช้ดุลยพินิจให้เหมาะสม
6.1 การคิดปริมาณไม้หน้าตัดเป็นนิ้ว ความยาวเป็นเมตร ให้คูณด้วยตัวคงที่ 0.0228 หน่วยเป็น ลูกบาศก์ฟุต
ตัวอย่าง ไม้ขนาดหน้าตัด 1″x8″ ยาว 10 เมตร
คิดเป็นปริมาตร = 1x8x10x0.0228 = 1.824 ลูกบาศก์ฟุต